Bismuth
บิสมัท(อังกฤษ:Bismuth) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 83 และสัญลักษณ์คือ Bi บิสมัทเป็นธาตุโลหะหนักเป็นผลึกสีขาวอมชมพู มีสมบัติทางเคมีคล้ายสารหนูและพลวง บิสมัทใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ เภสัชกรรมและเครื่องสำอาง

ดูความหมายอื่นของ นครศรีธรรมราช ได้ที่ นครศรีธรรมราช (แก้ความกำกวม)
อำเภอเมืองนครศรีธรรมราชเป็นอำเภอที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

อำเภอเมืองนครศรีธรรมราชอำเภอเมืองนครศรีธรรมราช ที่ตั้ง

ด้านใต้ อ.ปากพนัง อ.เฉลิมพระเกียรติ อ.พระพรหม
ด้านตะวันตก อ.ลานสกา
ด้านเหนือ อ.พรหมคีรี อ.ท่าศาลา
ด้านตะวันออก อ่าวไทย
มารี กูรี
มารี กูรี (Maria Skłodowska-Curie) (7 พฤศจิกายน 2410 - 4 กรกฎาคม 2477) นักเคมีผู้ค้นพบรังสีเรเดียม ที่ใช้ยับยั้งการขยายตัวของมะเร็ง ซึ่งเป็นโรคร้ายที่ไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แต่มีอัตราการตายของของคนไข้เป็นอันดับหนึ่งมาทุกยุคสมัย ด้วยผลงานที่มีความสำคัญต่อมนุษยชาติเหล่านี้ ทำให้มารี กูรีได้รับรางวัลโนเบลถึง 2 ครั้งด้วยกัน

มารี กูรี ประวัติ
มารี เป็นชาวโปแลนด์ บิดาเป็นครูสอนวิทยาศาสตร์ และมักพาเธอมาที่ห้องทดลองเสมอ จึงทำให้เธอสนใจวิชาด้านวิทยาศาสตร์ตั้งแต่เด็ก แม้จะมีเหตุการณ์ทางการเมืองเมื่อรัสเซียมาปกครองโปแลนด์ และบังคับให้ใช้ภาษารัสเซียเป็นภาษาราชการก็ตาม
หลังจบการศึกษาระดับต้นแล้ว เธอกับพี่สาวก็ทำงานด้วยการเป็นครูอนุบาล สอนหนังสือให้กับเด็กๆ แถวๆ นั้น โดยทั้งสองมุ่งหวังอยากไปเรียนต่อที่ฝรั่งเศส แต่เงินไม่พอกับค่าใช้จ่าย เธอจึงให้พี่สาวคือ บรอนยา ไปเรียนต่อด้านแพทย์ศาสตร์ ก่อน พอจบแล้วค่อยส่งเสียเธอเรียนต่อด้านวิทยาศาสตร์ต่อไป จนพี่สาวจบมาเธอก็ได้ไปเรียนต่อที่ มหาวิทยาลัยปารีส สมใจแต่ด้วยเงินอันน้อยนิดจากพี่สาว ไม่พอต่อค่าใช้จ่ายเธอจึงดิ้นรนหางานทำ จนได้เป็นผู้ช่วยในห้องปฏิบัติการทางเคมี ของ ปิแอร์ กูรี จนทั้งสองแต่งงานมีลูกด้วยกัน แต่ ปิแอร์ เสียชีวิตก่อนเพราะอุบัติเหตุรถชน ระหว่างที่เรียนไปทำงานไป เธอก็มุ่งมั่นศึกษาทดลองไปเรื่อยๆ จนมาพบรังสีแร่ธาตุยูเรเนียม โดยได้มาจากแร่พิทช์เบลนที่เป็นออกไซต์ชนิดหนึ่งสามารถแผ่รังสีได้ จากการเพียรพยายามทดลองมาหลายปีในการสกัดแร่ชนิดต่างๆ จนมาพบรังสีดังกล่าวทำให้เธอได้รับปริญญาเอก ในการค้นพบแร่ธาตุเรเดียม
จนในปี พ.ศ. 2445 (ค.ศ. 1902) เธอก็สามารถสกัดแร่เรเดียมให้บริสุทธิ์ได้ เรียกว่า เรเดียมคลอไรด์ ที่สามารถแผ่รังสีได้มากกว่ายูเรเนียมถึง 2,000,000 เท่า มีคุณสมบัติคือ ให้แสงสว่าง และความร้อนได้ และเมื่อแร่นี้แผ่รังสีไปถูกวัตถุอื่น วัตถุนั้นจะเปลี่ยนสภาพเป็นธาตุกัมมันตรังสี และสามารถแผ่รังสีได้เช่นเดียวกันกับแร่เรเดียม จนทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลต่อมา
การศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับแร่เรเดียมอย่างหนัก และต่อเนื่องกว่า 4 ปี ทำให้เธอได้รับรางวัลโนเบลอีกครั้ง แม้สามีจะเสียชีวิตก็ตาม ด้วยกำลังใจอันล้นเปี่ยม เมื่อเกิดภาวะสงครามโลกครั้งที่ 1 ขึ้นผู้คนส่วนมากล้มตายและถูกเกณฑ์ไปเป็นทหาร เธอจึงอาสาสมัครเป็นอาสากาชาดเพื่อช่วยทหารที่บาดเจ็บ ในการเอกซเรย์เคลื่อนที่ตระเวนรักษาตามหน่วยต่างๆ จนสงครามสงบเธอก็กลับมาทำงาน แต่ก็ต้องล้มป่วยเพราะผลมาจากการทำงานหนัก และโดนรังสีเรเดียม ทำให้ไขกระดูกถูกทำลายและเสียชีวิตในเวลาต่อมา

ประวัติส่วนตัว
เมื่ออายุได้ 19 ปี และได้พบกับหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล ซึ่งชักชวนให้มาอาศัยอยู่ที่วังละโว้ ของพระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ
สรพงศ์ เริ่มงานแสดงครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2512 เป็นตัวประกอบ และเป็นเด็กยกของในกองถ่ายละครเรื่อง นางไพรตานี ฉายทางช่อง 7 และเล่นเป็นตัวประกอบในละคร ห้องสีชมพู และ หมอผี ซึ่งหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล เป็นผู้กำกับหลังจากเดินทางกลับจากเรียนต่อที่สหรัฐอเมริกา
ชื่อ สรพงศ์ ชาตรี ที่ใช้ในการแสดง ผู้ตั้งให้คือ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ และหม่อมอุบล ยุคล ณ อยุธยา โดยคำว่า "สร" มาจาก อนุสรมงคลการ, "พงศ์" มาจาก สุรพงศ์ โปร่งมณี (ผู้พามาฝากตัวกับหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม) และ "ชาตรี" มาจาก ชาตรีเฉลิม
สรพงศ์ ชาตรี รับบทพระเอกครั้งแรก ในภาพยนตร์เรื่อง มันมากับความมืด (พ.ศ. 2514) ผลงานกำกับภาพยนตร์เรื่องแรกของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม จากนั้นได้รับบทในภาพยนตร์ของหม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม แทบทุกเรื่อง ทั้งบทพระเอก พระรอง ตัวประกอบ และเป็นผู้ช่วยผู้กำกับในบางครั้ง มีผลงานแสดงประมาณ 400 เรื่อง ได้รางวัลตุ๊กตาทองครั้งแรกจากเรื่อง ชีวิตบัดซบ และ สัตว์มนุษย์ สองปีติดต่อกัน และมีชื่อเสียงในต่างประเทศจากเรื่อง แผลเก่า (พ.ศ. 2520) กำกับโดยเชิด ทรงศรี
สรพงศ์ ชาตรี
ผลงานแสดง

รางวัลตุ๊กตาทอง ได้เข้าชิง ดารานำชาย 11 ครั้งติดต่อกัน ระหว่าง พ.ศ. 2517 - 2530

  • ชีวิตบัดซบ (2518) กำกับโดย เพิ่มพล เชยอรุณ
    สัตว์มนุษย์ (2519) กำกับโดย ฉลอง ภักดีวิจิตร
    มือปืน (2526) กำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
    มือปืน 2 สาละวิน (2536) กำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
    เสียดาย 2 (2539) กำกับโดย หม่อมเจ้าชาตรีเฉลิม ยุคล
    รางวัลสุพรรณหงส์ทองคำ ได้เข้าชิง 9 ครั้งติดต่อกัน ระหว่าง พ.ศ. 2522 - 2530

    • ถ้าเธอยังมีรัก (2524)
      มือปืน (2526)
ซูเปอร์ไลท์เวท
ซูเปอร์ไลท์เวท (Superlightweight) ชื่อเรียกรุ่นมวยรุ่นหนึ่งที่อยู่ระหว่างรุ่นไลท์เวทกับรุ่นเวลเตอร์เวท นักมวยที่จะชกในรุ่นนี้ต้องมีน้ำหนักไม่เกิน 140 ปอนด์ (63 กิโลกรัม) โดยสถาบันสภามวยโลก (WBC) และสมาคมมวยโลก (WBA) ก่อตั้งรุ่นนี้ขึ้นมาพร้อมกันในปี พ.ศ. 2510 โดยเริ่มแรกเรียกว่า ไลท์เวลเตอร์เวท (Lightwelterweight) ต่อมาทางสภามวยโลกได้เปลี่ยนชื่อรุ่นเป็น ซูเปอร์ไลท์เวท และทางสมาคมมวยโลกและสหพันธ์มวยนานาชาติเรียกว่า จูเนียร์เวลเตอร์เวท (Juniorwelterweight) แต่ในวงการมวยสากลสมัครเล่นยังคงเรียกว่า ไลท์เวลเตอร์เวท อยู่
สำหรับนักมวยไทยเคยครองแชมป์โลกในรุ่นนี้มาแล้ว 1 คน คือ แสนศักดิ์ เมืองสุรินทร์ ซึ่งเป็นแชมป์โลกรุ่นใหญ่สุดที่นักมวยไทยเคยเป็นแชมป์มาด้วย และมีนักมวยสากลสมัครเล่นเคยได้ครองเหรียญทองโอลิมปิคมาแล้วในปี พ.ศ. 2547 คือ มนัส บุญจำนงค์
ค.ศ. 40
พุทธศักราช 583 ใกล้เคียงกับ ค.ศ. 40

วันเกิด

เทียน
เทียน สามารถหมายถึง


เทียนไข อุปกรณ์ให้แสงสว่าง
เทียนจำนำพรรษา เทียนไขขนาดใหญ่ทางพระพุทธศาสนา
เทียนน้ำ วงศ์พรรณไม้ชนิดหนึ่ง
เทียนทอง พืชชนิดหนึ่ง
เทียนซาน ภูเขา
พ.ศ. 2065
วิกิพีเดียยังไม่มีบทความที่ตรงกับชื่อนี้
เริ่มบทความ รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย แยกต
ค้นหา รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย แยกต ในบทความอื่น ๆ
ดูบทความที่กล่าวถึง รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย แยกต
ถ้าคุณสร้างหน้านี้แล้วเมื่อไม่นานมานี้แต่มันยังไม่ปรากฏขึ้น เป็นไปได้ที่จะมีการล่าช้าในปรับปรุงฐานข้อมูล ลองล้างข้อมูลเก่าในเครื่อง หรือกรุณารอสักครู่และตรวจดูอีกครั้งก่อนที่ท่านจะลองสร้างหน้าใหม่
ถ้าคุณสร้างบทความชื่อเรื่องนี้ก่อนหน้านี้ มันอาจจะถูกลบไปแล้ว ดู ปูมการลบ และทำไมหน้าถึงโดนลบ
ถ้าต้องการถามคำถามเกี่ยวกับ รายชื่อรัฐวิสาหกิจไทย แยกต ให้ลองถามที่ ปุจฉา-วิสัชนา
ภาษาสินธุ
ภาษาสินธีเป็นภาษาของกลุ่มชนในเขตสินธ์ในเอเชียใต้ ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของประเทศปากีสถาน เป็นภาษาตระกูลอินโด-ยุโรเปียน แม้ว่าจะเป็นภาษาของชาวอารยัน แต่มีอิทธิพลจากภาษาของดราวิเดียนด้วย ผู้พูดภาษาสินธีพบได้ทั่วโลก เนื่องจากการอพยพออกของประชากรเมื่อปากีสถานแยกตัวออกจากอินเดียเมื่อ พ.ศ. 2490 และสินธ์เป็นของปากีสถาน ภาษานี้เขียนด้วยอักษรอาหรับดัดแปลง ตั้งแต่ พ.ศ. 2491 รัฐบาลอินเดียพยายามให้ชาวสินธ์ในอินเดียเขียนด้วยอักษรเทวนาครีแต่ไม่มีการยอมรับเท่าที่ควร

สัทวิทยา

Blog Archive